Grid posts | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ Skip to main content

กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมสร้างพลเมืองและประชาธิปไตยในชีวิตจริง

     ...กลับไปสู่อดีต ที่เป็นอย่างนี้ ส่วนหนึ่งต้องยกความดีให้รัฐธรรมนูญ 2540 และแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8 ซึ่งได้วางรากฐานในด้านประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเอาไว้อย่างหนักแน่น รวมทั้งขบวนขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสุขภาพที่ได้สร้างสรรค์เครื่องมือสำคัญที่เรียกว่า กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (Participatory Healthy Public Policy Process-PHPP) ที่กำลังเสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองและฝึกฝนระบบ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สธ.จัดทำร่างยุทธศาสตร์เชื้อดื้อยา (สธ.)

     ...ทะเบียนยา ว่า คณะอนุกรรมการพิจารณาทบทวนตำรับยาแผนปัจจุบันของมนุษย์ของ อย.ได้พิจารณายาปฏิชีวนะแต่ละตัวที่มีข้อเรียกร้องแล้ว แต่ที่ดูเหมือนว่ายังไม่ได้ดำเนินการนั้น เนื่องจากขณะนี้กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กำลังแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาในภาพใหญ่ระดับประเทศ โดยจัดทำร่างยุทธศาสตร์เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ พ.ศ.2560-2564 (Antimicrobial resistance: AMR) ซึ่ง นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร รมว.สธ.ได้เห็นชอบร่างดังกล่าว...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

ประเทศไทยปักธงนำบนเวทีโลกเคลื่อนแนวคิด ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ

      ประเทศต่างๆ ใน เวทีระดับโลก ปรบมือชื่นชมและยอมรับความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ของไทย ที่มุ่งผลักดันแนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ (Health in All Policies) เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ที่สมัชชาอนามัยโลก ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เสนอกลไกประชารัฐ และ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 เป็นตัวอย่างกลไกสร้างความตื่นรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคม ขณะที่ในเวทีสร้างเสริม สุขภาพนานาชาติ นพ.อำพล จินดาวัฒนะ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติเสนอรูปธรรมงานของ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติและ สมัชชาสุขภ

สช. จุดประกายภาคีเครือข่าย ปลุกพลังเรียนรู้ สร้างสุขที่ปลายทาง

   สช. เผยทุกภาคส่วนในสังคมไทยขานรับการ “สร้างสุขที่ปลายทาง” เพื่อสุขภาวะในระยะท้ายของชีวิต โดยเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ ต่างร่วมกันขับเคลื่อนการเรียนรู้ แนะเร่งพัฒนาระบบการแพทย์แบบประคับประคอง
 

พินัยกรรมชีวิตจุดเปลี่ยนคนข้างหลัง

     เมื่อไม่นานมานี้...ญาติทางคุณยายที่ต่างจังหวัด อายุ 80 กว่า หกล้มในห้องน้ำ หยุดหายใจไป 10 กว่านาที ปั๊มหัวใจ...ตอนนี้ไม่รู้ตัว ต้องย้ายจากโรงพยาบาลรัฐไปอยู่โรงพยาบาลเอกชน เสียค่าใช้จ่ายวันละเกือบ 2 หมื่นบาท ...เป็นประเด็นสำคัญ ที่ควรรู้ในเรื่อง “การทำพินัยกรรมชีวิต” หรือ “Living Will” ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ บอกว่า เรื่องนี้อาจไม่เกี่ยวกับเรื่องกฎหมายธุรกิจ หรือเรื่องการทำพินั...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

จากทุกข์สู่สุขอีสาน

     สมพันธ์ เตชะอธิก รู้ทุกข์จึงจะรู้สุข แต่กว่าจะสร้างภูมิคุ้มกันและพ้นทุกข์สู่สุขได้ ก็ต้องอาศัยการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีเครือข่ายคอยอุ้มชูช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สมัชชาสุขภาพ 20 จังหวัดภาคอีสาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้มีประกาศปฏิญญาโฮมสุขอีสาน (2) ในเวทีวิชชาการโฮมสุขอีสานที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2559 ในงานปิดเวที ก่อนแยกย้ายไปทำงานภารกิจเพื่อสร้างสุขอีสานในแต่ละ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด