สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ Skip to main content

สช. จับมือ พอช. สร้าง ‘ชุมชนเข้มแข็ง’ รับมือโควิด-19

   สช. ร่วมหารือ พอช. สานพลังท้องถิ่น-สาธารณสุข-ภาคประชาชน หาแนวทางขับเคลื่อนจากระดับจังหวัดถึงตำบล ส่งเสริมชุมชนสร้างมาตรการทางสังคมรับมือโควิด-19 ในทุกมิติ เฝ้าระวัง ป้องกัน-ดูแล-เยียวยา-ฟื้นฟูชุมชนท้องถิ่น เชื่อเป็นโอกาสสร้างชุมชนเข้มแข็งทั่วประเทศ คิกออฟ 24 มีนาคมนี้
 
   สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 กำลังเป็นภัยคุกคามสำคัญในประเทศ มีผู้ติดเชื้อแล้วกว่า 200 คน และมีทีท่าว่าการระบาดจะเข้าสู่ระยะ 3 ในอีกไม่นาน ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ออกมาตรการต่างๆ เพื่อชะลอเวลาการเข้าสู่ระยะ 3 ให้นานที่สุด
 

สช. รวมพลังพลเมืองตื่นรู้ หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19

   รองเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ชี้สถานการณ์โควิด-19 ระบาด สามารถเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วยเท่าที่จำเป็นได้ เพื่อประโยชน์สาธารณะ พร้อมเร่งปูพรมขับเคลื่อน ทั่วประเทศ “รวมพลังพลเมืองตื่นรู้ หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19” หามาตรการเชิงสังคม ที่ชุมชนมีส่วนร่วมเฝ้าระวังและลดการแพร่ระบาดโควิด-19
 

เร่งสานพลังเครือข่าย หนุนเสริมชุมชนป้องกัน COVID-19

   สช.เร่งสานพลังเครือข่ายทุกภาคส่วนและสมัชชาสุขภาพจังหวัดทั่วประเทศ หาแนวทางหนุนเสริมการป้องกันไวรัส COVID-19 นพ.ปรีดา แนะประชาชนปฏิบัติและรับข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขเป็นหลัก
 

วางแผน “ตายดี” ทางเลือกสร้างสุขปั้นปลาย

   งานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3 ชวนแพทย์ร่วมเล่าประสบการณ์ว่าครอบครัวควรทำอย่างไรเมื่อต้องดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ควรบอกความจริงหรือไม่ บอกข่าวร้ายอย่างไร ตัดสินใจแบบไหนดีในช่วงท้าย ร่างกาย จะทรมานแค่ไหน ฯลฯ รวมถึงแนวทางในภาพใหญ่ที่ควรผลักดันระบบอาสาสมัครและให้ ‘ ชุมชน’ มีส่วนร่วมในเรื่องนี้...
 

เปิดงาน ‘สร้างสุขที่ปลายทาง’ ครั้งที่ 3

   เปิดงาน ‘สร้างสุขที่ปลายทาง’ ครั้งที่ 3 สช. จับมือเครือข่ายยกระดับความเข้าใจสิทธิการตายตามธรรมชาติและการดูแลแบบประคับประคองผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพฯ ด้าน สธ. เตรียมผลักดันหน่วยบริการแบบประคับประคองใน รพ.- ศูนย์บริการปฐมภูมิในพื้นที่
 

‘การตายดี’ สิทธิที่ทุกคนต้องเข้าถึง

   “ในการทำงาน การที่หมอส่วนใหญ่ไม่ได้รับการอบรมเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (palliative care) สำหรับผู้ป่วยระยะท้าย ไม่ค่อยมีในหลักสูตรแพทยศาสตร์ในโรงเรียนแพทย์ว่าผู้ป่วยแบบไหนคือผู้ป่วยระยะท้าย หมออาจไม่เข้าใจ จึงต้องมีคำจำกัดความถึงผู้ป่วยลักษณะนี้ ว่าการอยู่ในระยะท้าย หมายถึงการมีชีวิตอยู่ได้อีกกี่เดือน หมอจะได้ตระหนักว่านี่คือ palliative แล้วส่งผู้ป่วยเข้ารับบริการซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตัวเขาเอง”
 

Subscribe to สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ