ตอนที่ 2 ‘วิถีเพศภาวะ: เสริมพลังสุขภาวะครอบครัว’
- 329 view(s)
- 0 comment(s)
แม้ว่าประเทศไทยจะรับ “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” ที่ยืนยันหลักการว่าการเลือกปฏิบัติเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ และถึงแม้ว่าที่ผ่านมารัฐไทยจะส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศผ่านการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนการออกกฎหมายหลายฉบับเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำทางเพศ และพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดจาก “เพศภาวะ”
ย้อนกลับไปราว 17-18 ปีก่อน คือในปี 2544 ทุกกระทรวงในประเทศไทย (ยกเว้นกระทรวงกลาโหม) ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (Gender Focal Point : GFP) ขึ้น ทำหน้าที่สร้างความเข้าใจให้ข้าราชการ และดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในประเด็นเพศภาวะ
ตอนที่ 3 ความละเอียดอ่อนทาง ‘เพศ’ คือต้นทางสร้าง ‘สุขภาวะครอบครัว’
อีกเพียง 2 เดือน งานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 12 ประจำปี 2562 ก็จะเปิดฉากขึ้น โดยปีนี้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คจ.สช.) ได้ประกาศระเบีบบวาระที่จะเข้าสู่การพิจารณาจัดทำเป็นนโยบายสาธารณะใน 4 เรื่องใหญ่ หนึ่งในนั้นคือ “วิถีเพศภาวะ : เสริมพลังสุขภาวะครอบครัว” ที่นับเป็นรากฐานของการสร้างความเข้มแข็งทางสังคม และมีความสำคัญเชิงประเด็นในระดับนานาชาติ