Policy Dialogue | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เปิดเวที Policy Dialogue ตีแผ่สถานการณ์ ‘เด็กเกิดน้อย’

เวทีสนทนานโยบายสาธารณะ ครั้งที่ 4 สช. จับมือภาคีเครือข่าย รวม 7 หน่วยงาน เปิดพื้นที่กลางแก้ปัญหา ‘เด็กเกิดน้อย’

สช .จัดเวที Policy Dialogue ครั้งที่ 3 ผ่าปัญหา ‘ระบบทดแทนไต’ สกัดเป็นนโยบายสาธารณะ หลังผู้ป่วยพุ่ง-บุคลากรแพทย์น้อย

ทุกวันนี้วิธีการรักษาสำหรับผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้ผลดี  มีประสิทธิภาพ รวมถึงเพิ่มคุณภาพชีวิตได้ดีที่สุดก็คือ การปลูกถ่ายไต (KT) ทว่า ด้วยไตสำหรับปลูกถ่ายนั้นมีจำกัด ทำให้ในแต่ละปีทำได้เพียงหลักร้อยเท่านั้น ส่วนผู้ป่วยที่เหลือก็ต้องรับการบำบัดทดแทนไตด้วยการฟอกไตผ่านช่องท้อง (PD) หรือฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD) ซึ่งอาจเป็นไปเพื่อรออวัยวะ หรือรักษาด้วยวิธีดังกล่าวไปตลอดชีวิต

สช.ผนึกภาคี เปิดเวที Policy Dialogue ครั้งที่ 3 ผลักดันนโยบายยกระดับคุณภาพชีวิต ‘ผู้ป่วยโรคไต’ สู่ ‘พรรคการเมือง-รัฐบาลชุดใหม่’

สช. จับมือภาคีเครือข่าย รวม 5 หน่วยงาน เปิดพื้นที่กลางผ่านเวทีสนทนานโยบายสาธารณะ ครั้งที่ 3 เพื่ออัพเดทสถานการณ์ “โรคไตวาย” ในปัจจุบัน ตลอดจนทบทวนนโยบาย-ระบบการรักษา เพื่อแสวงหาข้อเสนอเชิงวิชาการในการดูแล-ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ป่วย ก่อนสังเคราะห์เป็นนโยบายสาธารณะเสนอ “พรรคการเมือง-รัฐบาลชุดใหม่”

9 พรรคการเมืองตอบโจทย์ประชาชน เห็นพ้องสร้าง ‘หลักประกันรายได้’ ผู้สูงอายุ

สช. ชักชวน IHPP-คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ สภาองค์กรของผู้บริโภค จัดเวที Policy Dialogue ครั้งที่2 เชิญผู้แทน 9 พรรคการเมืองเสนอนโยบายการสร้าง “หลักประกันรายได้เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ” บนความสอดคล้องใน 5 เสาหลัก การจ้างงาน-การออม-เงินอุดหนุน-หลักประกันสุขภาพ-การดูแลของครอบครัวในชุมชน

หน่วยงานรัฐหนุน ‘หลักประกันรายได้’ ผู้สูงอายุ สช. เตรียมชวน ‘พรรคการเมือง’ ไขข้อข้องใจ ใช้เงินจากไหนจัดสวัสดิการ-ชัด! ปลาย เม.ย.นี้

“สช.-IHPP” เปิดเวทีสนทนาสาธารณะ (Policy Dialogue) สำรวจความพร้อม-ความเป็นไปได้ต่อการสร้าง ‘ระบบหลักประกันรายได้รองรับสูงวัย’ เพื่อสร้างความมั่นคงหลังเกษียณ วงถกเห็นพ้องถึงความจำเป็น พร้อมหนุนพรรคการเมืองเดินหน้าสร้างสวัสดิการ ‘บำนาญสูงอายุ’ แต่ยังตั้งคำถามถึง ‘ที่มา’ ของงบประมาณ

Subscribe to Policy Dialogue