Page 11 - สร้างสุขภาพศาสนทายาท สร้างสุขภาวะสามเณร
P. 11

สำาหรับพระสงฆ์  ให้สอดคล้องกับพระธรรมวินัยและ
                                                        สถานการณ์ด้านสุขภาพ รวมทั้งให้เกิดการมีส่วนร่วมในการ
                                                        ดูแลสุขภาพของพระสงฆ์และชุมชน
                                                           เนื�องด้วยทราบดีว่าปัญหาทางสุขภาพของพระสงฆ์
                                                        โดยเฉพาะการป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) นั้น
                                                        มีสาเหตุสำาคัญส่วนหนึ�งมาจากอาหารที�ใส่บาตรทำาบุญ
                                                        ของประชาชน  ที�ยังขาดความรู้ความเข้าใจและตระหนัก
                                                        ถึงผลเสียต่อการเจ็บป่วย  ในขณะที�พระสงฆ์ก็มีพฤติกรรม
                                                        เสี�ยงต่อการเกิดโรค  เช่น  การสูบบุหรี�  ดื�มกาแฟ  ดื�ม
                                                        เครื�องดื�มชูกำาลัง และขาดการออกกำาลังกายที�เหมาะสม
                                                        เป็นต้น
                                                           จากมติสมัชชาฯ  ดังกล่าว  ได้นำามาสู่ความร่วมมือของ
           'พระ-โยม'                                    หลายฝ่่ายที�เกี�ยวข้อง  ในการเดินหน้าให้ความสำาคัญกับ
                                                        การดูแลสุขภาพพระสงฆ์ ตลอดจนความเชื�อมโยงระหว่าง
           กับบทบาท                                     วัดกับชุมชนเพื�อให้เกิดภาพของ “พระแข็งแรง วัดมั�นคง
                                                        ชุมชนเข้มแข็ง”
           ที�เกื�อัหนุนกัน                                หนึ�งในนั้นคือการเกิด “ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ”
                                                        ขึ้นเป็นข้อตกลงร่วมหรือกติกา  ที�เป็นกรอบและแนวทาง
                                                        การส่งเสริมสุขภาวะพระสงฆ์ในทุกระดับ  รวมทั้งส่งเสริม
             เป็นเวลากว่า ๕ ปีแล้ว ที� ธรรมินูญสีุขภาพพระสีงฆ์์   บทบาทของพระสงฆ์ในการเป็นผู้นำาด้านสุขภาวะของ
           แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลบังคับใช้เป็นกรอบและแนวทาง   ชุมชนและสังคม
           ในการส่งเสริมสุขภาวะพระสงฆ์ทั�วประเทศ  ภายหลังได้     ตลอดระยะเวลากว่า ๕ ปีที�ผ่านมา ภาพของการพัฒนา
           รับความเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม (มส.) และประกาศ  สุขภาพ/สุขภาวะของพระสงฆ์ ก็ได้ก่อตัวขึ้นทั�วประเทศ
           ใช้อย่างเป็นทางการในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที�   ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ในการผลัก
           ๑๐ พ.ศ. ๒๕๖๐                                 ดันให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพภายในวัด สร้าง “พระคิลานุ
              หลักการของธรรมนูญฯ  ฉบับนี้  ตั้งอยู่บนพื้นฐาน  ๓   ปัฏิฐาก”  หรือพระอาสาสมัครส่งเสริมสุขภาพประจำาวัด
           ส่วน คือ ๑. พระสงฆ์กับการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก  (อสว.) ที�มีบทบาทในการดูแลสุขภาพทั้งพระและญาติโยม
           พระธรรมวินัย  ๒.  ชุมชนและสังคมกับการดูแลอุปัฏิฐาก  ตลอดจนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลพระสงฆ์ เพื�อประโยชน์
           พระสงฆ์ที�ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัย ๓. บทบาทพระ  ในด้านสิทธิและสวัสดิการด้านสุขภาพ เป็นต้น
           สงฆ์ในการเป็นผู้นำาด้านสุขภาวะของชุมชนและสังคม     บทบาทของพระสงฆ์ในด้านสุขภาพยิ�งปรากฏิแจ่มชัด
              ภายใต้แนวทางดังกล่าว  จึงไม่ใช่เพียงแค่การส่งเสริม   มากขึ้น  จากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19  เมื�อ
           ดูแลสุขภาพของ “พระสงฆ์” หากแต่ยังมีการพูดถึงบทบาท   พระสงฆ์ได้เข้ามามีส่วนช่วยเหลือญาติโยม  ตั้งแต่การ
           ของพระสงฆ์ต่อการดูแลสุขภาพ/สุขภาวะของ “ญาติโยม”   จัดหา/จ่ายแจกหน้ากากอนามัย  การตั้งโรงทานคำ้าจุน
           ในชุมชน และสังคม ด้วย                        ผู้ตกทุกข์ได้ยาก  การตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ
              แน่นอน  เราเห็นแล้วในช่วงสถานการณ์การระบาดของ   กระทั�งการบำาเพ็ญกุศลและฌาปนกิจศพผู้เสียชีวิต
           โรคโควิด 19                                     โดยเฉพาะอย่างยิ�งนวัตกรรมการควบคุมโรคที�เกิดขึ้น
              “เมื�อโยมไม่ทิ้งพระ แล้วพระจะทิ้งโยมได้อย่างไร”  ในหลายพื้นที�อย่าง ศูนย์พักคอยภายในวัด หรือ Temple
              สำาหรับ  ธรรมินูญสีุขภาพพระสีงฆ์์แห่งชาติ  พ.ศ.   Isolation  ที�เป็นการพลิกบทบาทคณะสงฆ์  มาสู่การเป็น
           ๒๕๖๐  มีจุดตั้งต้นย้อนกลับไปในปี  ๒๕๕๕  หลังจากที�   ผู้ดูแลสุขภาพให้ทั้งกับพระและญาติโยม  อันช่วยสนับสนุน
           สีมิัชชาสีุขภาพแห่งชาติ  ครั�งที�  ๕  ได้ฉันทมติเรื�อง   การดำาเนินงานของภาครัฐในภาวะวิกฤต  และเปิดกว้าง
           “พระสงฆ์กับการพัฒนาสุขภาวะ” ซึ�งภาคีเครือข่ายสมัชชา   ความช่วยเหลือนี้กับทุกคนโดยที�ไม่มีข้อจำากัดในเรื�องของ
           สุขภาพได้เห็นพ้องกันถึงการพัฒนาแนวทางการปฏิิบัติ   ศาสนาแต่อย่างใด





 10  ฉบับ ๑๕๐ : มีนาคม ๒๕๖๖                                            ฉบับ ๑๕๐ : มีนาคม ๒๕๖๖  11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16