Page 13 - ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพฯ ฉบับ 3 เข็มทิศนโยบายสาธารณะสร้างสุขภาวะสังคมไทย
P. 13

!""#$%&:  “


 ;.<. =   !"#$%&'()*+,-./-19


 #0(6/"+)6>')#  "012345-6#$1#37'


 ?@A $!""#  89/#:'-;1

 )
 !"#$%&'(*$'+#
   กระบวนก�รจัดทำ�ธรรมนูญว่�ด้วยระบบสุขภ�พ
 แห่งช�ติ ฉบับที� ๓ เริ�มต้นจ�กจุดสต�ร์ท ณ วันที� ๑๘ ธ.ค.   ,-.!.$/*,01234.
 ๒๕๖๓ ภ�ยหลัง คสช. แต่งตั้งคณะกรรมก�รจัดทำ�
 ธรรมนูญฯ พร้อมด้วยคณะอนุกรรมก�รฯ ข้้นอีก ๓ คณะ    <=>316?@;:9/61$<=4-
 ได้แก่  คณะอนุกรรมก�รวิช�ก�รและยกร่�งธรรมนูญฯ  A
 คณะอนุกรรมก�รมีส่วนร่วมและรับฟังคว�มเห็นฯ  และ  67:>&.*@%8;)*-;1*
 A
 C
 คณะอนุกรรมก�รสื�อส�รสังคมฯ  @16(B'#$D)&E
   นับจ�กนั้นท�งคณะกรรมก�รจัดทำ�ธรรมนูญฯ  และ
 คณะอนุกรรมก�รฯ ก็ต่�งเดินหน้�กระบวนก�รจัดทำ� เริ�ม
 ตั้งแต่สัมภ�ษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จัดเวที Focus Group เวที  “
 รับฟังข้อมูลก่อนก�รยกร่�งจ�กกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ๘ เวที
 จนได้กรอบแนวคิดและเป้�หม�ยธรรมนูญว่�ด้วยระบบ
 สุขภ�พแห่งช�ติ ฉบับที� ๓ ในระยะ ๕ ปี ไว้ว่� “ระบบ
 สุขภาพที�เป็นธรรม ไม่ทิ�งใครไว้ข้างหลัง”
   “บทเรียนของโควิด-19  ทำ�ให้พวกเร�เห็นชัดเจนว่�
 คว�มเหลื�อมลำ้�ยังคงมีอยู่จริง  และห�กไม่จัดก�รแล้วก็จะ
 ยิ�งมีช่องว่�งม�กข้้นเรื�อยๆ ขณะเดียวกันสุขภ�พก็ไม่ใช่
 เรื�องของปัจเจก แต่เป็นเรื�องของทุกคนและของสังคมโลก
 ด้วย  หรือที�เร�เรียกว่�  one  world  one  destiny มีสุขก็
 สุขด้วยกัน มีทุกข์ก็ทุกข์ด้วยกัน ดังนั้นธรรมนูญฯ ฉบับนี้
 จ้งมีแนวคิดสำ�คัญที�ก�รมองระบบสุขภ�พแบบองค์รวม
 ให้คว�มสำ�คัญกับปัจจัยแวดล้อม ก�รพัฒน�ศักยภ�พคน
 และก�รมีส่วนร่วมของทุกภ�คส่วน  เพร�ะระบบสุขภ�พ
 ที�ดีและเป็นธรรม จะนำ�ม�ซ้�งคว�มยั�งยืน” ประธ�นคณะ
 กรรมก�รจัดทำ�ธรรมนูญฯ อธิบ�ยคว�ม
   เมื�อได้ม�ซ้�งเป้�หม�ยหลักของธรรมนูญฯ  ฉบับนี้  ใน
 ระหว่�งเดือนมีน�คม – เมษ�ยน ๒๕๖๕ คณะนักวิช�ก�ร
 ยกร่�งฯ  จ้งเดินหน้�เข้�สู่ช่วงของก�รยกร่�งธรรมนูญฯ
 ร่วมกับภ�คีที�เกี�ยวข้องของส�ระร�ยหมวด  พร้อมจัดเวที
 รับฟังคว�มเห็นจ�กผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื�อนำ�ม�ปรับ
 แก้ไขร่�งธรรมนูญฯ  พร้อมด้วยเวทีสร้�งก�รรับรู้และก�ร
 มีส่วนร่วมในกระบวนก�รจัดทำ�และขับเคลื�อนธรรมนูญฯ
 ฉบับที� ๓ ข้้นใน ๓ กลุ่มหลัก
                                   ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์




 10  ฉบับ ๑๔๐ : พฤษภาคม ๒๕๖๕                                        ฉบับ ๑๔๐ : พฤษภาคม ๒๕๖๕    11
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18