Page 11 - ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพฯ ฉบับ 3 เข็มทิศนโยบายสาธารณะสร้างสุขภาวะสังคมไทย
P. 11

ขับเคลื�อนหรือใช้อ้�งอิงประกอบก�รจัดทำ�แผน นโยบ�ย
                                                       รวมถ้งกติก�ร่วมของชุมชนได้ อันเป็นเจตจำ�นงและพันธะ
                                                       ของสังคมที�จะขับเคลื�อนระบบสุขภ�พที�กำ�หนดภ�พ
                                                       พ้งประสงค์ไว้ร่วมกัน
                                                         ตลอดระยะเวล� ๑๔ ปีที�ผ่�นม� ประเทศไทยมีธรรมนูญ
                                                       ว่�ด้วยระบบสุขภ�พแห่งช�ติ ม�แล้ว ๒ ฉบับ คือฉบับที�
                                                       ๑ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒
                                                       และฉบับที� ๒ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
                                                       พ.ศ. ๒๕๕๙ ซ้�งเป็นฉบับที�ใช้อยู่ในปัจจุบัน และอีกไม่น�น
                                                       นับจ�กนี้เร�ก็จะได้ใช้ฉบับที� ๓
                                                         นับตั้งแต่ฉบับแรกเป็นต้นม� ธรรมนูญว่�ด้วยระบบ
                                                       สุขภ�พแห่งช�ติได้ถูกหน่วยง�น  องค์กร  นักวิช�ก�ร
                                                       กลุ่มคน ตลอดจนชุมชนต่�งๆ นำ�ไปใช้ประโยชน์ นำ�กรอบ
                                                       แนวคิดและส�ระสำ�คัญของธรรมนูญฯ  ไปใช้อ้�งอิงใน
                                                       หล�กหล�ยรูปแบบ
                                                         ตัวอย่�งของรูปธรรม อ�ทิ ก�รก่อเกิดและขย�ยตัวของ
                                                       “ธรรมนูญสุขภ�พพื้นที�” ซ้�งชุมชนท้องถิ�นได้อ้�งอิงและ
                                                       นำ�รูปแบบกระบวนก�รจัดทำ�ธรรมนูญฯ ม�ปรับประยุกต์
                                                       จัดทำ�เป็นกรอบ  กติก�  ข้อตกลงร่วมในก�รสร้�งระบบ
                                                       สุขภ�พของชุมชน-ท้องถิ�นของตนเอง ไปแล้วม�กกว่�
                                                       ๙,๐๐๐  แห่งทั�วประเทศ  และขย�ยเพิ�มข้้นอย่�งรวดเร็ว
                                                       ผ่�นก�รดำ�เนินง�นร่วมกับภ�คีเครือข่�ยต่�งๆ ม�กม�ย
                                                         อย่�งที�ได้กล่�วไว้ข้�งต้นว่�  พ.ร.บ.  สุขภ�พแห่งช�ติ
                                                       พ.ศ.  ๒๕๕๐  กำ�หนดให้มีก�รทบทวนธรรมนูญว่�ด้วย
                                                       ระบบสุขภ�พแห่งช�ติ ทุกๆ ๕ ปี เพื�อให้เท่�ทันกับสภ�พ
                                                       คว�มเปลี�ยนแปลงที�รวดเร็วและรุนแรง
                                                         ก�รประชุมคณะกรรมก�รสุขภ�พแห่งช�ติ (คสช.) หรือ
                                                       บอร์ดสุขภ�พของประเทศ  เมื�อวันที�  ๑๖  พ.ย.  ๒๕๖๓
                                                       จ้งให้คว�มเห็นชอบแต่งตั้งผู้ที�จะเข้�ม�กุมบังเหียน ทำ�
                                                       หน้�ที� “สังค�ยน�” เนื้อห�ในธรรมนูญว่�ด้วยระบบสุขภ�พฯ
                                                       ฉบับเก่� เพื�อก่อร่�งข้้นรูปธรรมนูญว่�ด้วยระบบสุขภ�พฯ
                                                       ฉบับใหม่
                                                         นั�นก็คือ  ดร.สุวิทย์  เมษินทรีย์ อดีต  รมว.ก�ร
                                                       อุดมศ้กษ� วิทย�ศ�สตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ
                                                       อดีตรัฐมนตรี-รัฐมนตรีช่วยฯ อีกหล�ยกระทรวง ที�จะเข้�ม�
               ธรรมนูญว่�ด้วยระบบสุขภ�พแห่งช�ติ จ้งไม่ต่�งไปจ�ก  ทำ�หน้�ที�ประธ�นคณะกรรมก�รจัดทำ�ธรรมนูญว่�ด้วย
             “พิมพ์เขียว” ที�ภ�คส่วนต่�งๆ กำ�หนดภ�พอน�คตที�  ระบบสุขภ�พแห่งช�ติ ฉบับที� ๓
             พ้งประสงค์ของระบบสุขภ�พร่วมกัน              พร้อมด้วยองค์ประกอบจ�กภ�คส่วนต่�งๆ คือ ภ�ครัฐ
               ดังนั้นทุกหน่วยง�น  องค์กร  รวมถ้งชุมชน  ท้องถิ�น  ภ�ควิช�ก�ร/วิช�ชีพ  และภ�คประช�ชน/ประช�สังคม
             ทุกภ�คส่วนของสังคม  จ้งส�ม�รถนำ�ธรรมนูญฯ  ไป  เข้�ร่วมเป็นคณะกรรมก�ร







 8  ฉบับ ๑๔๐ : พฤษภาคม ๒๕๖๕                                         ฉบับ ๑๔๐ : พฤษภาคม ๒๕๖๕     9
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16