Page 12 - รายงานประจำปี 2564 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
P. 12

สารจาก

                                    เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ






                       จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19

                  ที่ยังคงอยู่มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน เป็นปัจจัย
                  ผลกระทบที่ท้าท้ายต่อการด�าเนินงานตามภารกิจของ
                  สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)             แนวคิดการจัดการองค์กรสมัยใหม่
                  อย่างยิ่ง ด้วย สช. เป็นองค์กรที่ก่อก�าเนิดจากพระราช-  คือ แนวคิดที่ สช. ได้น�ามาประยุกต์ใช้
                  บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ที่มีเป้าประสงค์       อย่างเร่งด่วน และได้ด�าเนินการปรับระบบ
                  ในการสร้างสังคมสุขภาวะที่ยั่งยืนบนการมีส่วนร่วม        การท�างานให้มีความยืดหยุ่นสอดคล้อง
                  ของทุกภาคส่วนในสังคม ผ่านกระบวนการพัฒนาและ           กับสถานการณ์ที่เกิดการพัฒนา
                  ขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วน-     เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสารทางไกล
                  ร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา (Participatory Public

                  Policy Process based on Wisdom : 4PW) ทั้งที่   รวมทั้งการปรับปรุง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
                  ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.   ขององค์กรให้รองรับระบบการท�างานแนว
                  2550 หรือในรูปแบบอื่น                               ใหม่ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร

                       “กระบวนการมีส่วนร่วมในภาวะวิกฤตโควิด-19”            ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
                  จึงเป็นโจทย์ส�าคัญที่ สช. จะต้องแสวงหาโอกาสและ
                  ช่องทางในการปฏิบัติภารกิจให้บรรลุเป้าหมายและ
                  ตัวชี้วัดของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

                       บนหลักการ แนวคิดการจัดการองค์กรสมัยใหม่    “การเรียนรู้และพัฒนาไม่หยุดนิ่ง” (Learning and
                  (Modern organization) คือ แนวคิดที่ สช. ได้น�ามา  Adaptation) ท�าให้ สช. มีผลการด�าเนินงานที่บรรลุ
                  ประยุกต์ใช้อย่างเร่งด่วน และได้ด�าเนินการปรับระบบ  เป้าหมายตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อย่างมี
                  การท�างานให้มีความยืดหยุ่นสอดคล้องกับสถานการณ์  ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล รวมทั้งได้แสดงบทบาท
                  ที่เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร              การเป็นองค์กรสานพลัง สู่การสร้างสังคมสุขภาวะ

                  ทางไกล รวมทั้งการปรับปรุง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของ  ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
                  องค์กรให้รองรับระบบการท�างานแนวใหม่ การพัฒนา    พ.ศ. 2550 ได้อย่างดียิ่ง
                  ศักยภาพบุคลากรให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ฯลฯ              ขอขอบคุณ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
                  แต่ยังคงอยู่ภายใต้กรอบการประเมินองค์การมหาชนที่  (คสช.) คณะกรรมการบริหาร สํานักงานคณะกรรมการ
                  จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะประจ�าปีงบประมาณ    สุขภาพแห่งชาติ (คบ.) คณะอนุกรรมการตรวจสอบ
                  พ.ศ. 2564 ของส�านักงาน ก.พ.ร. ส�าหรับภารกิจ             ที่ส่งเสริม สนับสนุนและผลักดัน จนเกิดผลเชิงนโยบาย
                  ด้านการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ                ขอขอบคุณหน่วยงาน องค์กร ภาคี และเครือข่าย
                  ได้เน้นการพัฒนากระบวนการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ    ทุกภาคส่วน รวมทั้งทีมผู้บริหารและบุคลากร สช.
                  ให้มีส่วนร่วมจากหน่วยงาน องค์กร และเปิดกว้างให้  ทุกท่าน ที่เป็นพลังส�าคัญยิ่งในการด�าเนินงานจนบรรลุ

                  ประชาชนเข้าร่วมได้กว้างขวางมากขึ้น รวมทั้งยกระดับ  ผลส�าเร็จได้ตามเป้าหมาย แม้จะอยู่ภายใต้วิกฤต
                  การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในกระบวนการ          โควิด-19
                  สมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานครครั้งที่หนึ่ง และสมัชชา
                  สุขภาพจังหวัด

                       ด้วยความร่วมมือร่วมใจของบุคลากร สช. ภายใต้
                  ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กรที่ขับเคลื่อนร่วมกันในเรื่อง    (นายแพทย์ประทีป ธนกิจเจริญ)
                  “การทํางานเป็นทีม” (Operation Teamwork) และ          เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ


                                                                      รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17