Page 8 - รายงานประจำปี 2564 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
P. 8

สารจาก

                                         ประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติ





                       ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
                  ไวรัสโคโรนา 2019 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเริ่มพบ
                  ผู้ป่วยรายแรกเมื่อเดือนมกราคม 2563 โรคระบาดนี้           จากความร่วมมือของทุกภาคส่วนในสังคม
                  แพร่กระจายไปทั่วประเทศ รวมระยะเวลายาวนานกว่า 2 ปี
                  รัฐบาลได้ขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือในการแก้ปัญหา        และความทุ่มเทเสียสละในการท�างานอย่างเต็ม

                  การแพร่ระบาดของโรค โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็น          ความสามารถ ส่งผลให้องค์การอนามัยโลก
                  หน่วยงานหลักในการเสนอนโยบายสุขภาพ  และเป็น        ชื่นชมยกย่องว่าประเทศไทยเป็นประเทศ
                  ศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ    ที่มีการควบคุมการระบาดของโควิด-19
                  ทั้งภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคธุรกิจในและต่างประเทศ
                  ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ผนึกก�าลังร่วมแก้วิกฤต         ได้ดีที่สุดประเทศหนึ่ง
                  สุขภาพที่ส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมในครั้งนี้
                  รัฐบาลได้รับการสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งบุคลากร
                  ทางการแพทย์ อุปกรณ์การแพทย์ที่จ�าเป็น ยา วัคซีน
                  การสนับสนุนอาคารสถานที่ในการจัดบริการสุขภาพ
                  รูปแบบใหม่  เช่น  Hospitel  โรงพยาบาลสนามและ            ร่วมมือเพื่อการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
                  Community Isolation ในโรงแรม พื้นที่การจัดแสดง  เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา เป็น
                  สินค้า พื้นที่ราชการ โรงงาน วัด ตลอดจนการสนับสนุน  องค์กรหนึ่งที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขภาวะวิกฤตการ
                  จากภาคประชาสังคมในการพัฒนาระบบสารสนเทศ          แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นี้ โดยท�าการ
                  การช่วยเหลือรับส่งผู้ป่วยและจัดส่งอาหาร         เปิดพื้นที่ให้ทุกภาคส่วนทุกระดับสามารถเข้าถึงและ
                                                                  แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างกว้างขวางผ่านการขับเคลื่อนแผน
                       ปัจจัยแห่งความส�าเร็จในการจัดการวิกฤตสุขภาพ  “รวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ช่วยชาติ สู้ภัยโควิด-19” น�าไป
                  ครั้งนี้ประการหนึ่ง คือ ความร่วมมือจากประชาชนในการ  สู่การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร
                  ด�าเนินการตามมาตรการต่าง ๆ เช่น มาตรการส่วนบุคคล   ภาคีเครือข่าย เพื่อสนับสนุนการจัดเวทีพัฒนาและขับเคลื่อน
                  DMHT คือ การเว้นระยะห่าง การสวมใส่หน้ากากอนามัย   นโยบายสาธารณะ ที่ให้ทุกภาคส่วนร่วมกันหยิบยกและ
                  การล้างมือ และการตรวจหาเชื้อด้วยตัวเอง มาตรการ   ขับเคลื่อนประเด็นรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ฯ และประเด็นอื่น ๆ
                  VUCA ที่แนะน�าให้ประชาชนเข้ารับการฉีดวัคซีน และ       ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนภายในจังหวัด
                  ร่วมกันท�าตามข้อแนะน�าการบริการสาธารณะ COVID free   และสนับสนุนต�าบล หมู่บ้านจัดท�าข้อตกลงร่วม หรือ
                  setting มาตรการปิดเมือง (Lock down) มาตรการ            ธรรมนูญประชาชนสู้ภัยโควิด-19 หรือธรรมนูญอื่น ๆ ที่เกิดจาก
                  การท�างานที่บ้าน (Work from Home) มาตรการจ�ากัด  การมีส่วนร่วมของประชาชน และภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่
                  การเดินทางเข้า-ออกประเทศ                        และเป็นกลไกส�าคัญในการน�าเสียงของประชาชนไปสู่

                       ในการระบาดครั้งนี้มีประชาชนกลุ่มหนึ่งที่มีจิตอาสา  ผู้ก�าหนดนโยบาย สร้างความเคลื่อนไหวของสังคมในทางบวก
                  และร่วมงานกับกระทรวงสาธารณสุขมาอย่างยาวนาน          ดังผลส�าเร็จของการด�าเนินงานในระดับต่าง ๆ ทั้งแผนงาน
                  คือ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ได้มีส่วนส�าคัญในการ  โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้
                  ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรคในทุกพื้นที่อย่างเข้มแข็ง             ผมในฐานะประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
                  จนไม่อาจปฏิเสธได้ว่า อสม. คือ หมอคนแรก และจัดเป็น  ขอชื่นชมและสนับสนุนการด�าเนินงานของ สช. ที่ได้ด�าเนิน
                  บุคลากรทางการแพทย์ด้วยเช่นกัน จากความร่วมมือของ  การมาอย่างต่อเนื่อง ในท้ายนี้ผมขอขอบคุณคณะกรรมการ
                  ทุกภาคส่วนในสังคม และความทุ่มเทเสียสละในการท�างาน  คณะอนุกรรมการ คณะท�างาน หน่วยงาน องค์กร ภาคี
                  อย่างเต็มความสามารถ ส่งผลให้องค์การอนามัยโลก           เครือข่าย และประชาชนคนไทย ที่ได้สานพลังความร่วมมือ
                  ชื่นชมยกย่องว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการควบคุม  ร่วมใจรับมือกับวิกฤตการระบาดของโควิด-19 มาตลอด
                  การระบาดของโควิด-19 ได้ดีที่สุดประเทศหนึ่งและอ้างถึง        2 ปี และมุ่งสร้างสังคมสุขภาวะที่ยั่งยืนให้เกิดขึ้นจริง
                  แบบอย่างที่ดีในการจัดการการระบาดของไทยในเวที    บนผืนแผ่นดินไทย ต่อไป
                  สุขภาพของโลก และขอถอดบทเรียนของประเทศไทย
                  เพื่อเผยแพร่เป็นประเทศแรกด้วย
                       ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)                (นายอนุทิน ชาญวีรกูล)
                  เป็นหน่วยงานปฏิบัติการของ คณะกรรมการสุขภาพ                    รองนายกรัฐมนตรี
                  แห่งชาติ (คสช.) มีบทบาทส�าคัญในการสานพลังความ           ประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติ


                                                                       รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  7
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13