Page 4 - สร้างสุขภาพศาสนทายาท สร้างสุขภาวะสามเณร
P. 4

คุุ ย กัั บ เ ล ข า





                               ร่่วมก่น ‘กำำ�หนดอน�คต’ ของพื้วกเร่า

                              ผ่่านการ่ ‘เลืือกำต้�งใหญ่่’ ทั่ี�กำาลิ่งจะเกิดีข้�น                                      สวัสดีครับพี�น้องภาคีเครือข่ายที�รักทุกท่าน  เหลือเวลาอีกไม่ถึง  ๒  เดือนแล้วที�การเลือกตั้งใหญ่ระดับประเทศจะเกิดขึ้น
                                                                                                                     ซึ�งหากพลิกปฏิิทินทางการเมืองและจับสัญญาณจากท่าทีรัฐบาล  คาดการณ์กันว่าจะเป็นวันที�  ๗  หรือไม่เกินสัปดาห์ที�  ๒
                                                                                                                     ของเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๖ พวกเราก็จะได้ ‘ใช้สิทธิใช้เสียง’ เพื�อกำาหนดอนาคตของตัวเอง ในฐานะที�เป็น ‘พลเมือง’
                                                                                                                     กันอย่างเต็มขั้นอีกครั้ง แม้จะเป็นการเลือกตั้งภายใต้กติการัฐธรรมนูญของ คสช. ที�ไม่เป็นประชาธิปไตย์เต็มใบก็ตาม
                                                                                                                        สถานการณ์ทางการเมืองก่อนการเลือกตั้งใหญ่ ปี ๒๕๖๖ ถือเป็นช่วง ‘หัวเลี้ยวหัวต่อ’ ที�สำาคัญ และมีผลสืบเนื�อง
                                                                                                                     ไปยังการพัฒนาประเทศในอีก ๕-๑๐ ปีข้างหน้า และเป็นวาระสำาคัญในการขับเคลื�อนทางสังคมแบบมีส่วนร่วมของ
                                                                                                                     ทุกภาคส่วนเพื�อกำาหนด  ‘ภาพอนาคตประเทศไทย’ (Scenario Thailand) เสนอต่อพรรคการเมืองที�อาสามาบริหาร
                                                                                                                     ประเทศ
                                                                                                                        นอกจากนี้ การเลือกตั้งใหญ่ที�จะเกิดขึ้นยังถือเป็นโอกาสอันดีของพวกเราที�จะได้ร่วมกันนำาเสนอ ‘นโยบายประชาชน’
                                                                                                                     หรือนโยบายสาธารณะเพื�อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมที�ผ่านการบ่มเพาะและสกัดออกมาเป็น ‘ความต้องการ’ ที�แท้จริงของ
                                                                                                                     ประชาชน เข้าสู่การพิจารณาเป็น ‘นโยบายหรือการขับเคลื�อนทางการเมือง’ ของพรรคการเมือง
                                                                                                                        ด้วยเหตุนี้เอง  สำานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  (สช.)  จึงได้สานพลังความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีทาง
                                                                                                                     สังคมและวิชาการ  ตลอดจนภาคียุทธศาสตร์ในการขับเคลื�อนประเทศไทยไปสู่  ‘สังคมสุขภาวะดี’  อันประกอบด้วย
                                                                                                                     สถานีโทรทัศน์ Thai PBS สำานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สถาบันบัณฑิิตพัฒนบริหารศาสตร์ สมาคมการค้าสตาร์ทอัพ
                                                                                                                     ไทย สถาบันอนาคตไทยศึกษา Thailand Policy Lab สำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
                                                                                                                     (สกสว.)  กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  และสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน  (องค์การ
                                                                                                                     มหาชน)  หรือ  พอช.  และอื�นๆ  โดยเบื้องต้นจะเปิดเวทีพัฒนาฉากทัศน์ประเทศไทยแบบมีส่วนร่วมทั�วประเทศ  ๘  เวที
                                                                                                                     ใหญ่ระดับภาค ได้แก่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคกลางตะวันออก ภาคกลางตะวันตก ภาคใต้
                                                                                                                     ตอนบน ภาคใต้สามจังหวัดชายแดน และกรุงเทพมหานคร (กทม.) ในช่วงปลายเดือน กพ. ถึง เมย.
                                                                                                                        รูปธรรมผลลัพธ์จาก ๘ เวทีใหญ่ Scenario Thailand คือการร่วมกันออกแบบฉากทัศน์ของประเทศไทยในอีก ๑๐ ปี
                                                                                                                     ข้างหน้า (พ.ศ. ๒๕๗๕) ภายใต้ ๖ กลุ่มประเด็นที�ครอบคลุมทุกมิติทางสังคม คือ ๑.  การศึกษาและทักษะ ๒. สุขภาพ/
                                                                                                                     สาธารณสุข ๓. เศรษฐกิจ/รายได้ ๔. สังคม/พื้นที�/ชีวิต ๕. สิ�งแวดล้อม ๖. รัฐ/ราชการ/ไทยในเวทีโลก
                                                                                                                        สำาหรับเวทีแรก เราเริ�มต้นกันไปแล้วที� ‘ภาคตะวันออก’ โดยจัดขึ้นเมื�อวันที� ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ ณ รอยัลการ์เด้น
                                                                                                                     พลาซ่า เมืองพัทยา จ.ชลบุรี ท่ามกลางบรรยากาศการตื�นตัวทางการเมืองของคนในพื้นที� เวทีดังกล่าวมี Think Tank
                                                                                                                     เข้าร่วมจำานวน ๕๖ คน เพื�อนำาร่องการจัดกระบวนการ และสรุปบทเรียนเพื�อนำาไปสู่การบริหารจัดการในเวทีอื�นๆ ต่อไป
                                                                                                                     อีก ๗ เวที
                                                                                                                        ไม่เพียงเท่านั้นนะครับ  เพราะนอกเหนือจาก  Scenario  Thailand  จำานวน  ๘  เวทีใหญ่แล้ว  สช.  ยังสานพลังกับ
                                                                                                                     คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื�อประชาชน  (กขป.)  สมัชชาสุขภาพจังหวัด  และภาคีเครือข่ายในพื้นที�  เพื�อจัดเวที  เสีียง
                                                                                                                     ประชาชน เลืือกอนาคตประเทศไทย ในจังหวัดที�มีเครือข่ายเข้มแข็งอีกประมาณ ๑๐ จังหวัด ควบคู่กันไปด้วย
                                                                                                                        เวที  เสียงประชาชน  เลือกอนาคตประเทศไทย  ที�เน้นหนักระดับพื้นที�นี้  ตั้งขึ้นเพื�อแลกเปลี�ยนข้อมูลสถานการณ์
                                                                                                                     ประเด็นสำาคัญของประเทศและพื้นที� ซึ�งจะเป็น ‘พื้นที�กลาง’ ให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งในพื้นที�จากพรรคการเมืองต่างๆ ได้
                                                                                                                     เข้ามารับฟัง  และแสดงนโยบายของพรรคตัวเองในประเด็นที�แตกต่างกันออกไปตามบริบทของพื้นที�  แต่มีประเด็นร่วม
                                                                                                                     คือหลักประกันรายได้ เพื�อคุณภาพชีวิตเมื�อเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ�งเป็นมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที� ๑๕ ที�ผ่านมา โดย
                                                                                                                     ในวันที� ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๖ จะจัดขึ้นที� หาดสีมิิหลืา จ.สีงขลืา และในวันที� ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๖ จะจัดขึ้นที� วิิทยาลืัย
                                                                                                                     การปกครองท้องถิ่ิ�น มิหาวิิทยาลืัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น
                                                                                                                        ผมขอใช้โอกาสนี้ชักชวนพี�น้องภาคีเครือข่ายที�รักทุกท่านติดตาม และเข้าร่วมกิจกรรม เพื�อร่วมกันกำาหนดอนาคต
                                                                                                                     ของพวกเรา ผ่านการเลือกตั้งใหญ่ที�กำาลังจะเกิดขึ้นในครั้งนี้ด้วยกันครับ






         4     ฉบับ ๑๕๐ : มีนาคม ๒๕๖๖                                                                                                                                          ฉบับ ๑๕๐ : มีนาคม ๒๕๖๖   5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9