Page 13 - เปิดประเทศอย่างสมดุล ดูแลคนทุกกลุ่ม ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
P. 13

ดูแล ‘แรงงาน


                                                       ข้ามชาติิ’ ปกป้อง


                                                       ‘เด็กไร้สัญ่ชาติิ’



                                                          หลัง “พีค” โควิด-19 สิ้นสุดลง และภ�พรวมของป้ระเทศ
                                                       ทั�วทั้งโลกกำ�ลังเข้�สู่โหมดของก�รฟ้�นฟู  ซึ�งแน่นอนว่�
                                                       ป้ระเทศไทยก็เป้็นหนึ�งในนั้น
                                                          ก�รเร่งเครื�องป้ั�มเศรษฐกิจสัมพันธ์โดยตรงกับก�ร
                                                       ลงทุน-ก�รจ้�งง�น-แรงง�น  ซึ�งก็เป้็นที�ทร�บกันดีว่�ทุก
                                                       วันนี้ป้ระเทศไทยต้องพึ�งพิงแรงง�นข้�มช�ติ โดยมีสัดส่วน
                                                       ของแรงง�นข้�มช�ติม�กที�สุดในอ�เซียน
                                                          ส�เหตุหนึ�งม�จ�กก�รเป้ลี�ยนแป้ลงโครงสร้�งท�ง
                                                       ป้ระช�กรของไทย ที�มีสัดส่วนผู่้สูงอ�ยุเพิ�มขึ้น ในขณะที�
                                                       อัตร�ก�รเกิดตำ�� จึงไม่อ�จเลี�ยงก�รนำ�เข้�แรงง�นข้�มช�ติ
                                                       เพื�อรักษ�กำ�ลังแรงง�นและระดับก�รเติบโตท�งเศรษฐกิจได้
                                                          เร�มีจำ�นวนแรงง�นข้�มช�ติ  คิดเป้็นถึงสัดส่วน
                                                       ร้อยละ  ๑๐  ของแรงง�นทั้งหมดในป้ระเทศ  หรืออ�จพูด
                                                       ได้ว่� “แรงง�นข้�มช�ติ” เป้็นส่วนหนึ�งในระบบใหญ่ของ
                                                       ป้ระเทศไทย
                                                          อย่�งไรก็ดี ทุกวันนี้เรื�องแรงง�นข้�มช�ติกลับถูกมอง
                                                       อย่�งแยกส่วน  ม�ตรก�รที�ว่�ด้วยแรงง�นข้�มช�ติมักมี
                                                       ลักษณะเฉพ�ะหน้�ชั�วคร�วและมุ่งเน้นควบคุมก�ร
                                                       เคลื�อนย้�ย  ม�กกว่�ที�จะบูรณ�ก�รเข้�กับตล�ดแรงง�น
                                                       และนับเป้็นส่วนหนึ�งในระบบป้ระกันสุขภ�พ หรือป้ระกัน
                                                       สังคม
                                                          นั�นจึงนำ�ม�สู่คว�มลักลั�น คว�มไม่เป้็นธรรม เมื�อแรงง�น
                                                       ข้�มช�ติส่วนใหญ่เข้�ไม่ถึงสิทธิด้�นสุขภ�พและบริก�ร
                                                       สุขภ�พ  ย่อมส่งผ่ลต่อเศรษฐกิจไทย  หนำ�ซำ้�เมื�อเกิดก�ร
                                                       ระบ�ดใหญ่ของโรคโควิด-19  พบว่�  แรงง�นข้�มช�ติ
                                                       กล�ยม�เป้็นกลุ่มที�ได้รับผ่ลกระทบด้�นสุขภ�พที�สูง ก่อให้
                                                       เกิดภ�ระก�รคลังท�งสุขภ�พต�มม�
                                                          จ�กป้ระเด็นป้ัญห�นี้ เมื�อวันที� ๘ มิ.ย. ๒๕๖๕ ภ�คี
                                                       เครือข่�ยและสม�ชิกสมัชช�สุขภ�พทั�วป้ระเทศ ที�ป้ระกอบ
                                                       ทั้งภ�ครัฐ  ภ�ควิช�ก�ร  ภ�คเอกชน  และป้ระช�สังคม
                                                       ได้ร่วมกันพิจ�รณ�มติ  สูมัช่ช่าสูุข้ภัาพเฉพาะปร์ะเด็น
                                                       ว่าด้วยั การ์เข้้าถึงสู้ทธิ้ด้านสูุข้ภัาพกลืุ่่มแร์งงานข้้ามช่าต้้
                                                       ซึ�งมีส�ระสำ�คัญที�จะให้แรงง�นข้�มช�ติได้รับก�รคุ้มครอง
                                                       สิทธิด้�นสุขภ�พ
                                                          จ�กก�รร่วมกันแลกเป้ลี�ยน  แสดงคว�มคิดเห็นและ
                                                       ให้ข้อเสนอแนะ  ในที�สุดภ�คีสมัชช�สุขภ�พก็ได้ร่วมกันมี



 12  ฉบับ ๑๔๒ : กรกฎาคม ๒๕๖๕                                        ฉบับ ๑๔๒ : กรกฎาคม ๒๕๖๕    13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18