Page 20 - รายงานประจำปี 2564 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
P. 20

3                                               4





                       คณะอนุกรรมการตรวจสอบ                         ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพ
                                                                              แห่งชาติ (สช.)
                       พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
                  มาตรา 30 วรรคสอง ก�าหนดว่า การบัญชีของส�านักงาน      พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
                  ให้จัดท�าตามหลักสากลตามแบบและหลักเกณฑ์ที่         มาตรา 26, 27 และ 31 บัญญัติให้จัดตั้งส�านักงาน
                  คณะกรรมการบริหารก�าหนด และต้องจัดให้มีการตรวจ   คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ขึ้นเป็นหน่วยงาน
                  สอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุ   ของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วย
                  ของส�านักงาน ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบให้        ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ
                  คณะกรรมการบริหารทราบอย่างน้อยปีละครั้ง          ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมาย

                       และปีงบประมาณ 2564 คณะอนุกรรมการ-          อื่น มีหน้าที่และอ�านาจรับผิดชอบงานธุรการของ
                  ตรวจสอบ มี นายเอ็นนู ซื่อสุวรรณ กรรมการบริหาร   คสช.  และ คบ. ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบาย
                  เป็นประธาน และมีหัวหน้างานตรวจสอบภายใน สช.      และยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดการท�างานร่วมกันในระดับ
                  เป็นเลขานุการ ได้ปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระตามที่ได้  นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานด้านสุขภาพ มี

                  รับมอบหมายจาก คบ. และสอดคล้องกับระเบียบว่า      เลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารของ สช.
                  ด้วยการตรวจสอบภายในของ สช. รวมทั้งกฎบัตร              การด�าเนินงานของ สช. ในปีงบประมาณ 2564
                  คณะอนุกรรมการตรวจสอบ ในปีงบประมาณ 2564          ได้ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบาย
                  ได้ประชุมรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง และมีผลการด�าเนินงานที่  สาธารณะแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา (Par-
                  ส�าคัญ ดังนี้                                   ticipatory Public Policy Process based on

                       3.1 การสอบทานการประเมินผลการควบคุม         Wisdom : 4PW) เน้นการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน
                  ภายใน พบว่า ยังไม่มีประเด็นหรือข้อบกพร่องที่อาจ   ทั้งภาครัฐ/ราชการ ภาควิชาการ/วิชาชีพ และภาคประชา
                  ส่งผลกระทบต่อ สช. อย่างมีนัยส�าคัญ              สังคม/เอกชน ตามยุทธศาสตร์สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา
                                                                  เพื่อน�าไปสู่เป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพและดูแล
                       3.2 การสอบทานการบริหารความเสี่ยง พบว่า     แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิผล
                  ยังมีประเด็นความเสี่ยงในด้านกลยุทธ์ (Strategy Risk)   และประสิทธิภาพ ผ่านเครื่องมือส�าคัญ ประกอบด้วย
                  ด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) และด้าน         ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ
                  การเงิน (Financial Risk) ที่ต้องมีการปรับกลยุทธ์การ  แห่งชาติ สมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ และสมัชชาสุขภาพ
                  ด�าเนินงานภายใต้งบประมาณของ สช. ที่ได้รับจัดสรร  เฉพาะประเด็น การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และ

                  ลดลง ส�าหรับความเสี่ยงด้านการก�ากับการปฏิบัติตาม  สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ โดย สช. ได้ปรับกลยุทธ์
                  กฎหมายหรือระเบียบ (Compliance Risk) พบว่า       การท�างานให้สอดคล้องกับสถานการณ์และวิกฤตจาก
                  สามารถเชื่อมั่นได้ว่า สช. มีการบริหารจัดการความเสี่ยง  การแพร่ระบาดของโควิด-19 ท�าให้สามารถบรรลุ
                  ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
                                                                  เป้าหมายและตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จ�านวน 5 ตัวชี้วัด และ
                       3.3 การสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่พบ     เชิงคุณภาพ (เชิงระบบ) จ�านวน 8 ตัวชี้วัดของแผนการ
                  รายการที่ สช. กระท�าการที่ขัดต่อกฎหมายและกฎ     ด�าเนินงาน  แผนการเงินและงบประมาณประจ�า
                  ระเบียบ ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ   ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้ครบถ้วน ผ่านเกณฑ์การ
                  ด�าเนินงานตามขอบเขตและภารกิจหลักของ สช.         ประเมินการเป็นระบบราชการ 4.0 ในระดับมาตรฐาน

                  .                                               และมีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
                                                                  ด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในระดับดีมาก







                                                                      รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  19ยงานประจ�าปี 2564 ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  19
                                                                      รา
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25