ธรรมนูญสุขภาพ | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ Skip to main content

ทุกภาคส่วนหนุนธรรมนูญระบบสุขภาพ สร้าง ‘คนไทยพันธุ์ใหม่’ รู้เท่าทันข้อมูลสุขภาพ

   เวที สช.เจาะประเด็น เร่งสร้างผู้บริโภคไทยยุค ๔.๐ ต้องรู้เท่าทันสุขภาพ ตอกย้ำภารกิจ “ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๙” ที่กำลังจะประกาศใช้ มุ่งสร้างความเข้มแข็งยุคข้อมูลท่วมโลกออนไลน์ ยกระดับการเข้าถึง เข้าใจ และนำไปใช้ ผนึกกำลังแผนพัฒนาดิจิตอลฯ ของรัฐบาล ขณะที่เจ้าของเพจดังหนุน สร้างวัฒนธรรมตรวจสอบก่อนแชร์แบบผิดๆ
 
   เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ จัดเวที สช. เจาะประเด็น ครั้งที่ ๓/๒๕๕๙ “ธรรมนูญระบบสุขภาพ ๒๕๕๙ : ภารกิจสร้างคนไทยพันธุ์ใหม่” ณ โถงหน้าห้องประชุมสานใจ ชั้น ๖ อาคารสุขภาพแห่งชาติ
 

HIA เครื่องมือสร้างสรรค์ประชาธิปไตยเชิงปรึกษาหารือ

     ...ร่วมที่ฐานล่างของสังคมไทยตามที่พูดนี้ ผมหมายถึงสองขบวนแรกที่ไม่ใช่งานร้อน และต่างมีกฎหมายหลายฉบับรองรับอย่างมั่นคงแล้ว อาทิ พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน พ.ร.บ.สภาพัฒนาการเมือง พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อม และ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ใน พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.

เร่งทำยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง รับมือภัยคุกคามสุขภาพ ที่มาพร้อมความเป็นเมือง

   คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เร่งเดินหน้ายุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ ประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติสั่งร่นเวลาจัดทำยุทธศาสตร์ฯ ต้องเสร็จภายใน ๘ เดือน หลังพบสารพัดปัญหาและภัยคุกคามสุขภาพจากการขยายตัวของเมือง แนะบูรณาการการทำงานของสถานพยาบาลทุกสังกัด มุ่งจัดระบบบริการปฐมภูมิเต็มรูปแบบ
 

รอยเกวียนแห่งการเรียนรู้สู่สังคมสุขภาวะ

     สุชน นนท์บุรี ช่วงสัปดาห์สุดท้าย ปลายเดือนที่ผ่านมา ผมมีโอกาส เข้าร่วมงานประชุมวิชชาการ 4 ภาค เพื่อถ่ายทอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ในหลายๆ พื้นที่ งานนี้ มีภาคีเครือข่ายจากพื้นที่ภาคเหนือ อีสาน กลาง และภาคใต้ ทั้งภาครัฐ นักวิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) คล้องแขนกันมาจัด กระบวนการพัฒนาความรู้จากการ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมสร้างพลเมืองและประชาธิปไตยในชีวิตจริง

     ...กลับไปสู่อดีต ที่เป็นอย่างนี้ ส่วนหนึ่งต้องยกความดีให้รัฐธรรมนูญ 2540 และแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8 ซึ่งได้วางรากฐานในด้านประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเอาไว้อย่างหนักแน่น รวมทั้งขบวนขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสุขภาพที่ได้สร้างสรรค์เครื่องมือสำคัญที่เรียกว่า กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (Participatory Healthy Public Policy Process-PHPP) ที่กำลังเสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองและฝึกฝนระบบ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

Subscribe to ธรรมนูญสุขภาพ