กรุงเทพธุรกิจ | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ Skip to main content

จี้รัฐทำเอชไอเอ-ฟังปชช.เพิ่ม ก่อนลุยพัฒนาริมเจ้าพระยา

     กลุ่มเพื่อนแม่น้ำ ร้องคณะกรรมการเอชไอเอ ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ก่อนเดินหน้าโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา พร้อมรับฟังความเห็นชุมชนให้รอบด้าน ผู้สื่อข่าวรายงานว่ากลุ่มเพื่อนแม่น้ำ (Friends of theRiver หรือ FOR)ได้เข้าพบและหารือคณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และผู้แทนภาคีเครือข่ายพันธกิจงานเอชไอเอ เพื่อให้ข้อมูลและขอความร่วมมือในการใช้กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สธ.เดินหน้า'หมอครอบครัว'ขยายโอกาสการรักษาปฐมภูมิ

...ตอน นักตั้งแต่ ปี 2485 ที่มีโรงพยาบาลรัฐในส่วนภูมิภาคเพียง 5 แห่ง และ สุขศาลา ซึ่งเป็น สถานบริการปฐมภูมิในระดับตำบลอยู่เพียง 300 กว่าแห่งทั่วประเทศ กระทั่งเข้าสู่ปี 2544 ที่ประเทศไทยขยายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมคนไทยทุกคน และถึงปลายเดือนต.ค.

หนุนเอกชนร่วมผลิต'พยาบาล'แก้ขาดแคลน-ส่งทำงานบ้านเกิด

วิชาชีพ พยาบาล ถือเป็นกำลังคนในระบบสุขภาพ ที่มีบทบาทสำคัญต่อการให้บริการประชาชน ซึ่งปัจจุบันถือว่าอยู่ในภาวะ ขาดแคลน โดยมีผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพนี้ ประมาณ 1.8 แสนคน แต่ทำงานในระบบจริงๆ เพียง 1.3 แสนคน ขณะที่ความต้องการพยาบาลวิชาชีพ มีปริมาณสูงถึง 1.6 แสนคน นั่นหมายความว่า ในระบบสาธารณสุขยังขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพ อีก 3 หมื่นคน โดยสภาการพยาบาลไทย คาดว่าถ้าไม่มีมาตรการรับมือ ในปี 2563...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

'ปฏิเสธรักษาในวาระสุดท้าย'เพื่อการจากไปอย่างสงบ

สิทธิชัย นครวิลัย บุคคลมีสิทธิทำหนังสือ แสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้...

เปิดยุทธศาสตร์ชาติ'สังคมสูงวัย'ปฏิรูปบริการสาธารณสุขทุกระดับ

สิทธิชัย นครวิลัย ประเทศไทย ได้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัย(Aging Society) ตั้งแต่ ปี 2548 จากการที่ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วน 1 ใน 10 หรือคิดเป็น 10% ของประชากรทั้งหมด และยังคาดว่าในอีก 5 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2564 ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete aged society) เมื่อประชากรผู้สูงอายุ มีถึง 1 ใน 5 หรือคิดเป็น 20% ของประชากรทั้งหมด รวมทั้งใน 20 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2578 หา...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

ไทยฆ่าตัวตายพุ่งอันดับ3โลก-ฮิตผูกคอ

สธ.เผยสถิติคนไทยฆ่าตัวตายสูงเป็นอันดับ 3 ของโลก เฉลี่ยกว่า 300 รายต่อเดือน รองจากญี่ปุ่น สวีเดน และสแกนดิเนเวีย ส่วนใหญ่พบอยู่ในวัยทำงานอายุ 20-50 ปี สาเหตุหลัก ผิดหวังความรัก-ปัญหาครอบครัว-หนี้สิน-เครียดเรื่องงาน ระบุใช้วิธีผูกคอมากสุด เพียง 2 เดือนแรกของปี 2559 เกิดเหตุคนไทยฆ่าตัวตายมาแล้วหลายครั้ง โดยข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข(สธ.) พบว่า ที่ผ่านมามีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายเพิ่มสูงขึ้น โดย...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

Subscribe to กรุงเทพธุรกิจ